News

Home > News

News

เหตุการณ์โรคในประเทศ
 
 
อาการโควิดล่าสุดปี 2567 เบื้องต้นเป็นยังไง กี่วันหาย อันตรายหรือไม่

อาการโควิดล่าสุดปี 2567 เบื้องต้นเป็นยังไง กี่วันหาย อันตรายหรือไม่

icon16/05/2567 เหตุการณ์โรคในประเทศ
โควิด 19 ในปี 2024 ยังไม่หายไปไหน ดังจะเห็นคนรอบข้างกลับมาป่วย COVID-19 รอบที่ 2 รอบที่ 3 กันบ้างแล้ว ดังนั้นเราเองก็อย่าชะล่าใจ ลองมาเช็กข้อมูลอัปเดตกันหน่อยว่าอาการโควิดล่าสุด 2567 เป็นยังไง อันตรายไหม ติดโควิดทำยังไง แล้วรอบนี้เป็นการระบาดของโควิดสายพันธุ์ใหม่อย่างที่เขาลือกันหรือเปล่า
อ่านเพิ่มเติม
'ติดโควิด' ปี 2567 ดูแล-รักษาอย่างไรได้บ้าง?

'ติดโควิด' ปี 2567 ดูแล-รักษาอย่างไรได้บ้าง?

icon17/05/2567 เหตุการณ์โรคในประเทศ
ปัจจุบัน (ปี 2567) หากป่วยโควิด-19 ประชาชนสามารถรักษาพยาบาลได้ตามสิทธิ โดยผู้ป่วยสิทธิ "บัตรทอง 30 บาท" นอกจากเข้ารักษาได้ที่สถานพยาบาลตามสิทธิ หรือหน่วยบริการปฐมภูมิทุกแห่งแล้ว สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ยังได้เพิ่มความสะดวกในการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ไม่ว่าจะเป็นบริการปรึกษาเภสัชกรและรับยาตามอาการได้ที่ "ร้านยา" รวมถึง "พบหมอออนไลน์" ด้วยระบบการแพทย์ทางไกลและรอรับยาจัดส่งถึงบ้าน
อ่านเพิ่มเติม
โรคหน้าฝน ที่ควรเฝ้าระวัง 4 โรคที่พบบ่อยในเด็ก และ 7 โรคที่มักเกิดในหน้าฝน

โรคหน้าฝน ที่ควรเฝ้าระวัง 4 โรคที่พบบ่อยในเด็ก และ 7 โรคที่มักเกิดในหน้าฝน

icon18/05/2567 เหตุการณ์โรคในประเทศ
โรคหน้าฝน ที่ควรเฝ้าระวัง 4 โรคที่พบบ่อยในเด็ก และ 7 โรคที่มักเกิดในหน้าฝน พร้อมวิธีการป้องกันง่ายๆ ที่สามารถทำได้ทุกวัน
อ่านเพิ่มเติม
สธ.ห่วงโรคระบาด ช่วงเด็กเปิดเทอม หลัง 5 เดือนพบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ 1.4 แสนคน!

สธ.ห่วงโรคระบาด ช่วงเด็กเปิดเทอม หลัง 5 เดือนพบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ 1.4 แสนคน!

icon19/05/2567 เหตุการณ์โรคในประเทศ
กรมควบคุมโรค แถลง รับมือโรคและภัยสุขภาพช่วงเปิดเทอม แนะผู้ปกครองระวังบุตรหลายป่วยหลายโรค โดยเฉพาะไข้เลือดออก และไข้หวัดใหญ่ที่ระบาดสูงตั้งแต่ต้นปี
อ่านเพิ่มเติม
ชัวร์ก่อนแชร์: ญี่ปุ่นประกาศภาวะฉุกเฉิน “โรคมะเร็งจากวัคซีน mRNA” จริงหรือ?

ชัวร์ก่อนแชร์: ญี่ปุ่นประกาศภาวะฉุกเฉิน “โรคมะเร็งจากวัคซีน mRNA” จริงหรือ?

icon20/05/2567 เหตุการณ์โรคในประเทศ
ข้อมูลที่ถูกแชร์ : มีข้อมูลเท็จเผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์ในต่างประเทศ เมื่อมีการอ้างว่ารัฐบาลประเทศญี่ปุ่นประกาศภาวะฉุกเฉิน หลังพบหลักฐานที่เชื่อว่ามีการแพร่ระบาดของผู้ป่วยมะเร็งจากการรับวัคซีนโควิด-19 ชนิด mRNA
อ่านเพิ่มเติม
โควิดวันนี้ (13 พ.ค. 67) ป่วยใหม่เข้า รพ.พุ่งพรวด 1,880 ราย ตายเพิ่มอีก 11 คน วันที่ 13 พฤษภาคม 2567 - 09:56 น.   โควิดวันนี้ (13 พ.ค. 2567) กรมควบคุมโรค พบผู้ป่วยโควิดรายใหม่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลสัปดาห์ล่าสุดเพิ่มขึ้นอีก 1,880 ราย เสียชีวิต 11 คน

โควิดวันนี้ (13 พ.ค. 67) ป่วยใหม่เข้า รพ.พุ่งพรวด 1,880 ราย ตายเพิ่มอีก 11 คน วันที่ 13 พฤษภาคม 2567 - 09:56 น. โควิดวันนี้ (13 พ.ค. 2567) กรมควบคุมโรค พบผู้ป่วยโควิดรายใหม่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลสัปดาห์ล่าสุดเพิ่มขึ้นอีก 1,880 ราย เสียชีวิต 11 คน

icon14/05/2567 เหตุการณ์โรคในประเทศ
โควิดวันนี้ (13 พ.ค. 2567) กรมควบคุมโรค พบผู้ป่วยโควิดรายใหม่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลสัปดาห์ล่าสุดเพิ่มขึ้นอีก 1,880 ราย เสียชีวิต 11 คน กับมีผู้ป่วยปอดอักเสบสูงถึง 588 ราย รวมยอดป่วยสะสม 14,937 ราย... อ่านข่าวต้นฉบับได้ที่ : https://www.prachachat.net/general/news-1562093
อ่านเพิ่มเติม
เตือนไทยพบโควิด-19 โอมิครอน KP.3 สายพันธุ์ย่อยใหม่กำลังคืบคลาน

เตือนไทยพบโควิด-19 โอมิครอน KP.3 สายพันธุ์ย่อยใหม่กำลังคืบคลาน

icon14/05/2567 เหตุการณ์โรคในประเทศ
ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ รามาฯ เผยข้อมูลองค์การอนามัยโลก พบไทยติดเชื้อโควิด-19 ตระกูลโอมิครอนสายพันธุ์ย่อย "กลุ่มเฟลิร์ท" แพร่กระจายได้ดี หลบเลี่ยงภูมิคุ้มกันที่สูงขึ้น หนำซ้ำยังมีโอมิครอน KP.3 เข้ามาใหม่ เฝ้าระวังแพร่กระจายอย่างใกล้ชิด
อ่านเพิ่มเติม
เทียบอาการ "โควิด-19 ไข้หวัดใหญ่ RSV" เช็กชัดๆ อาการแบบไหน ป่วยเป็นโรคอะไร

เทียบอาการ "โควิด-19 ไข้หวัดใหญ่ RSV" เช็กชัดๆ อาการแบบไหน ป่วยเป็นโรคอะไร

icon12/05/2567 เหตุการณ์โรคในประเทศ
เปรียบเทียบอาการ "โควิด-19" กับ "ไข้หวัดใหญ่" และ "RSV" เช็กชัดๆ อาการแบบไหน ป่วยเป็นโรคอะไร เฟซบุ๊ก ศูนย์ข้อมูล COVID-19 ได้โพสต์ภาพเปรียบเทียบอาการป่วยของโรค "โควิด-19, ไข้หวัดใหญ่ และ RSV" โดยระบุข้อความว่า "อาการแบบนี้นี่เราเป็นอะไรนะ?"
อ่านเพิ่มเติม
กรมวิทย์ เผย พบไข้หวัดใหญ่ชนิด A(H3N2) มากที่สุดในไทย ยันวัคซีนยังป้องกันได้

กรมวิทย์ เผย พบไข้หวัดใหญ่ชนิด A(H3N2) มากที่สุดในไทย ยันวัคซีนยังป้องกันได้

icon11/05/2567 เหตุการณ์โรคในประเทศ
กรมวิทย์ เผยผลการเฝ้าระวังสายพันธุ์ไข้หวัดใหญ่ ในไทย 3 สายพันธุ์ ชนิด A(H3N2) มากที่สุดคิดเป็นสัดส่วน 41.14% ยืนยันวัคซีนยังมีประสิทธิภาพป้องกัน แนะประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้ารับการฉีดวัคซีน
อ่านเพิ่มเติม
กรมวิทย์ฯ เผยโควิด 19 ในไทย พบสายพันธุ์ KP ซึ่งเป็นสายพันธุ์ย่อยของโอมิครอน JN.1*

กรมวิทย์ฯ เผยโควิด 19 ในไทย พบสายพันธุ์ KP ซึ่งเป็นสายพันธุ์ย่อยของโอมิครอน JN.1*

icon10/05/2567 เหตุการณ์โรคในประเทศ
กรมวิทย์ฯ เผยโควิด 19 ในไทย พบสายพันธุ์ KP ซึ่งเป็นสายพันธุ์ย่อยของโอมิครอน JN.1*
อ่านเพิ่มเติม
กรมวิทย์ฯ เผยผลการเฝ้าระวังสายพันธุ์ไข้หวัดใหญ่ ยืนยันวัคซีนยังมีประสิทธิภาพป้องกัน แนะประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้ารับการฉีดวัคซีน

กรมวิทย์ฯ เผยผลการเฝ้าระวังสายพันธุ์ไข้หวัดใหญ่ ยืนยันวัคซีนยังมีประสิทธิภาพป้องกัน แนะประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้ารับการฉีดวัคซีน

icon10/05/2567 เหตุการณ์โรคในประเทศ
กรมวิทย์ฯ เผยผลการเฝ้าระวังสายพันธุ์ไข้หวัดใหญ่ ยืนยันวัคซีนยังมีประสิทธิภาพป้องกัน แนะประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้ารับการฉีดวัคซีน
อ่านเพิ่มเติม
AstraZeneca ถอนใบอนุญาตวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลก

AstraZeneca ถอนใบอนุญาตวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลก

icon09/05/2567 เหตุการณ์โรคในประเทศ
AstraZeneca บริษัทร่วมทุนของอังกฤษและสวีเดน เริ่มถอนใบอนุญาตทางการตลาดของวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลก โดยให้เหตุผลว่าตอนนี้มีวัคซีนที่พัฒนาขึ้น ตามการพัฒนาของไวรัสมากเกินความต้องการ
อ่านเพิ่มเติม
แนะฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ก่อนหน้าฝน

แนะฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ก่อนหน้าฝน

icon08/05/2567 เหตุการณ์โรคในประเทศ
ผู้ที่จำเป็นต้องฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ ซึ่งแนะนำฉีดก่อนเข้าฤดูฝนจึงต้องใช้วัคซีนทางซีกโลกใต้ ซึ่งป้องกันเชื้อไข้หวัดใหญ่ที่พบในประเทศไทยถึง 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ A (H3N2) และ B ส่วน A (H1N1) อาจมีภูมิคุ้มกันป้องกันข้ามสายพันธุ์ได้บ้าง
อ่านเพิ่มเติม
กทม.เปิดฉีด “วัคซีนไข้หวัดใหญ่” กลุ่มเสี่ยง-นักเรียนในสังกัด ฟรี!

กทม.เปิดฉีด “วัคซีนไข้หวัดใหญ่” กลุ่มเสี่ยง-นักเรียนในสังกัด ฟรี!

icon06/05/2567 เหตุการณ์โรคในประเทศ
กทม.เปิดฉีด “วัคซีนไข้หวัดใหญ่” ในกลุ่มเสี่ยง-นักเรียนในสังกัดฟรี ที่สถานพยาบาลใกล้บ้าน เริ่ม 1 พ.ค.-31 ส.ค.นี้
อ่านเพิ่มเติม
ข้อมูลระบาดวิทยา เม.ย 67 โควิดสูง คาดหน้าฝนไวรัส-ไข้เลือดออกหนักขึ้น!

ข้อมูลระบาดวิทยา เม.ย 67 โควิดสูง คาดหน้าฝนไวรัส-ไข้เลือดออกหนักขึ้น!

icon05/05/2567 เหตุการณ์โรคในประเทศ
หมอมนูญเผยข้อมูลระบาดวิทยาเดือนเมษายน 2567 พบโควิดสูงแซงหน้าไข้หวัดใหญ่คาดอีก 2 เดือนไวรัสทางเดินหายใจและไข้เลือดออกระบาดหนักกว่าปีก่อน
อ่านเพิ่มเติม
รายการทั้งหมด 105 รายการ
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
จัดการความเป็นส่วนตัว
คุกกี้ที่มีความจำเป็น (Strictly Necessary Cookies)
เปิดใช้งานตลอด
คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์รวมข้อมูลโรคติดต่อ เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการในสาระสำคัญของ ศูนย์รวมข้อมูลโรคติดต่อ ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้
คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลการใช้งาน (Performance Cookies)
คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้ ศูนย์รวมข้อมูลโรคติดต่อ ทราบถึงการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์รวมข้อมูลโรคติดต่อ รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่น ๆ ศูนย์รวมข้อมูลโรคติดต่อ ยังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งานมากขึ้น ถึงแม้ว่า ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ ศูนย์รวมข้อมูลโรคติดต่อ ไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้
คุกกี้เพื่อการใช้งานเว็บไซต์ (Functional Cookies)
คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เว็บไซต์ของ ศูนย์รวมข้อมูลโรคติดต่อ จดจำตัวเลือกต่าง ๆ ที่ท่านได้ตั้งค่าไว้และช่วยให้เว็บไซต์ส่งมอบคุณสมบัติและเนื้อหาเพิ่มเติมให้ตรงกับการใช้งานของท่านได้ เช่น ช่วยจดจำชื่อบัญชีผู้ใช้งานของท่าน หรือจดจำการเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าขนาดฟอนต์หรือการตั้งค่าต่าง ๆ ของหน้าเพจซึ่งท่านสามารถปรับแต่งได้ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้อาจส่งผลให้เว็บไซต์ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์
คุกกี้เพื่อการโฆษณาไปยังกลุ่มเป้าหมาย (Targeting Cookies)
คุกกี้ประเภทนี้เป็นคุกกี้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงเว็บไซต์ของบุคคลที่สาม ซึ่งเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานและเว็บไซต์ที่ท่านได้เข้าเยี่ยมชม เพื่อนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่นที่ไม่ใช่เว็บไซต์ของ ศูนย์รวมข้อมูลโรคติดต่อ ทั้งนี้ หากท่านปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะไม่ส่งผลต่อการใช้งานเว็บไซต์ของ ศูนย์รวมข้อมูลโรคติดต่อ แต่จะส่งผลให้การนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่น ๆ ไม่สอดคล้องกับความสนใจของท่าน
บันทึกการตั้งค่า